General Motors Labor conflicts

General Motors Labor conflicts เรื่องราวในตอนที่แล้วจะเป็นเรื่องของทางแบรนด์ที่มีการทำรถไฟฟ้าออกมา และมันทำให้เรารู้ว่าจริงๆแล้วแบรนด์เจเนรัลมอเตอร์นั้นเป็นแบรนด์แรกที่ทำรถไฟฟ้าออกมา

ที่เป็นรุ่นอิมแพคท์แต่ก็เกิดปัญหานิดหน่อยและมีการเรียกคืนและเลิกผลิตไป ท่านใดที่ยังไม่ได้อ่าน สามารถกลับไปอ่านได้ที่ คลิก รถไฟฟ้าแบรนด์เจเนรัลมอเตอร์

ในวันนี้เราจะพาไปชมกับปัญหาเรื่องของแรงงานที่ในช่วงหนึ่งมีผลทางเศรษฐกิจมาก และมีผลกับแบรนด์เจเนรัลมอเตอร์ด้วย เรื่องราวนี้จะเป็นยังไง เอาหละพร้อมกันแล้วไปชมกันเลย

🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎

General Motors Labor conflicts

General Motors Labor conflicts เรื่องราวปัญหาแรงงาน

🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎

เรื่องราวปัญหาการหยุดงานแบรนด์เจเนรัลมอเตอร์

เริ่มเรื่องที่เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นจะเริ่มในช่วงปีค.ศ.1936 ถึง ค.ศ.1937 ฟลินท์ตอนนั้นได้มีการออกมาประท้วงโดยใช้การหยุดงาน ดูเหมือนว่าเรื่องจะเกิดที่ทางแบรนด์เจเนรัลมอเตอร์ได้มีการเปลี่ยนรูปแบบมาเป็น ยูเอดับเบิ้ลยู หรือ ยูไนทิด ออโต้โมบิตส์ เวิร์ดเกอร์

ในตอนนั้นได้มีการเปลี่ยนของอุตสาหกรรมครั้งใหญ่ให้เป็นสหภาพแรงงาน ที่ตอนนั้นได้มีโรงงานผลิตรถยนต์มากมายหลายแบรนด์ได้มากตั้งที่ประเทศอเมริกา

ในตอนที่ได้มีการประชุม ยูเอดับเบิ้ลยู ขึ้นครั้งแรกในช่วงปีพ.ศ.2479 ทางยูเอดับเบิ้ลยูได้มีการตัดสินใจที่จะเลิกการจัดกิจกรรม เพราะว่าแต่ก่อนทางยูเอดับเบิ้ลยูเคยจัดงานกับโรงงานขนาดเล็ก (เป็นการจัดงานเหมือนกับงานสัมมนา)

และทางยูเอดับเบิ้ลยูได้มีการวางแผนระบบตลาดรถยนต์ใหม่หมด ด้วยการใช้วิธีที่จะเข้าหานายจ้างรายใหญ่ที่มีความสามารถสูง และทางแบรนด์เจเนรัลมอเตอร์ก็ได้เลือกโรงงานที่ฟลินท์ รัฐมิชิแกน

🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎

General Motors Labor conflicts

🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎 🏎

ที่มีปัญหาเพื่อที่จะวางแผนใหม่ แต่การที่ทางแบรนด์เจเนรัลมอเตอร์จะวางเผนและจัดระบบใหม่ที่ ฟลินท์ รัฐมิชิแกน มันยากมาก ว่ากันว่าทางแบรนด์ได้มีการเข้าไปเกี่ยวกับการเมืองและได้จับตาดูคนอื่นๆด้วย

ในตอนนั้นวินด์แฮม มอร์ติเมอร์ เจ้าหน้าที่ของทาง สหภาพแรงงาน ได้มีการรับผิดชอบในเรื่องของการหาเสียงที่ฟลินท์ และเจ้าหน้าที่คนนี้ได้ถูกโทรขู่โดยใครบางคนด้วยในตอนที่เขาได้ออกไปจัดงาน

ต่อมาในช่วงปีค.ศ.1936 ทางแบรนด์ได้ทางการแบบเดิมอยู่โดยมีเส้นอยู่ทั่วทั้งเมือง และทำให้แบรนด์ถึงทำอย่างนี้ใช้มั้ยครับ รอคิดดูว่าถ้าคุณมีเงินและมีทุกผลิตของเรียบร้อย

แต่คุณไม่มีพนังงานเพราะไม่ทำข้อตกลงอะไรบ้างอย่างไว้ และถ้าหากคุณเป็นเจ้าของแบรนด์คุณจะทำอย่างไรละ ก็ต้องมีการวางรากระบบใหม่และมีการหาเส้นสายที่จะจัดงานหรืองานสัมมนา

บทความโดย ป๊อกเด้ง